เวทีทัศน์
-
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ "อำนาจพิเศษ -ม็อบ –ทักษิณ ประเทศยังไม่พ้นความขัดแย้ง"
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 21 มิถุนายน 2554 เวลา 14:43 น.เขียนโดยisranewsการเมืองหลังการเลือกตั้ง ได้รัฐบาลใหม่ หลายภาคส่วนเริ่มเป็นห่วงว่าจะมีความขัดแย้งระลอกใหม่ ไม่ว่าการนิรโทษกรรม การยอมรับผลการเลือกตั้ง ศ.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มองการจัดตั้งรัฐบาลและเงื่อนไขที่อาจทำให้การเมืองไทยจมปลักอยู่กับความ วุ่นวายในศึกใหม่
-
พิจารณาเลือกตั้ง ด้วยหลักการเลือกหุ้น โดย มนตรี ศรไพศาล
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 21 มิถุนายน 2554 เวลา 10:08 น.เขียนโดยมนตรี ศรไพศาลการเลือกตั้งในวันที่ 3 กรกฎาคม ที่จะถึงนี้ ดูจะเป็นการเลือกตั้งที่น่าตื่นเต้นกันทั้งแผ่นดิน ดูเหมือนเป็นการชิงชัยที่จะได้นายกฯ ชายท่านปัจจุบัน หรือ นายกฯ หญิง ที่กำลังมาแรงตามข่าว ประเทศไทยโชคดี ที่เรามั่นใจได้คือ เราจะมีนายกฯ หน้าตาดี เพราะว่าที่นายกฯของเรา มีแต่หนุ่มหล่อและสาวสวยทั้งคู่
-
บริบทใหม่ทางธุรกิจการค้า โดย นายธนินท์ เจียรวนนท์
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 21 มิถุนายน 2554 เวลา 09:57 น.เขียนโดยisranewsปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “บริบทใหม่ทางธุรกิจการค้า” โดย นายธนินท์ เจียรวนนท์ กราบเรียน ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงษ์ อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศาสตราพิชาน ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี คุณธนากร เกษตรสุวรรณ นายกสมาคมศิษย์เก่าสถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์ คณาจารย์ และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน
-
"ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ" ตั้งโจทย์ "จะผลิตเด็กป้อนอุตสาหรรม หรือสร้างคนบนรากเหง้า"
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 17:39 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนจากวิทยาลัยการจัดการทางสังคม และ โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา สู่การเคลื่อนไหวคัดค้านยุบโรงเรียนเล็ก ในนาม สภาการศึกษาทางเลือก หนึ่งในหัวขบวนหลัก คือ "ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ" ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา ร่วมขยายมุมมองการศึกษาเพื่อสังคมรากหญ้า ....................................................................................................
-
ชนักปักหลัง"ยิ่งลักษณ์" โดย ประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 17:11 น.เขียนโดยประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์เครือข่ายพลเมืองคัดค้านนิรโทษกรรมคอร์รัปชั่นทักษิณ (คนท.) นำโดย นายแก้วสรร อติโพธิ และ นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แสดงอาการไม่พอใจเป็นอย่างมาก เมื่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ออกมาแถลงข่าวเคลียร์หน้าเสื่อให้แก่ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ผู้สมัคร ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อลำดับที่ 1 พรรคเพื่อไทยว่า ยังไม่มีการกระทำที่เข้าข่ายความผิด พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหล ...
-
"แม่สะอิ้ง ไถวสินธุ์" รากหญ้าเล่นการเมือง อย่ามองคนอีสานเป็นแค่แม่บ้าน
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 10:46 น.เขียนโดยisranewsการแก้ปัญหาความยากจนยังคงเป็นแคมเปญหลักในการหาเสียง แต่ก็ไม่มีใครคิดว่าแม่สะอิ้ง แกนนำคาราวานคนจน ผู้คลุกคลีกับชาวบ้านในอีสานและจบการศึกษาแค่ป.4 จะได้รับการผลักดันให้เป็นผู้สมัครปาร์ตี้ลิสต์ในพรรคการเมือแถวหน้า ที่ต้องการฐานเสียงในภาคอีสาน
-
กะเทาะนโยบายหาเสียง"ท้องถิ่นแบบพิเศษดับไฟใต้" เลือกตั้งผู้นำ ไม่แตะผู้ว่าฯ ไม่ยุ่งทหาร!?!
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 06:42 น.เขียนโดยสมศักดิ์ หุ่นงาม, ปรัชญา โต๊ะอิแตเป็นเรื่องที่น่ายินดีว่าการเลือกตั้งทั่วไปหนนี้ สมรภูมิสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีปรากฏการณ์การต่อสู้ในเชิงนโยบายของบรรดาผู้สมัครและพรรคการเมืองที่ต้องการแย่งชิงเก้าอี้ ส.ส. 11 ที่นั่งกันอย่างคึกคัก โดยเฉพาะวาระร้อนอย่างเรื่อง “รูปแบบการปกครอง” ที่มีการเสนอโมเดล “ปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษ” ให้ประชาชนเลือกผู้นำของตนเองในระดับที่ใหญ่กว่า อบจ. ใหญ่กว่าจังหวัด หรืออาจรวม 3 จังหวัดเป็นหนึ่งเดียว
-
เช็คอุณภูมิข้าวและทางรอดข้าวไทย..ไปต่อทางไหนดี?
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 19 มิถุนายน 2554 เวลา 17:46 น.เขียนโดยEconomic Intelligence Center ธนาคารไทยพาณิชย์แม้ปัจจุบันไทยยังครองตำแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก แต่ไม่ควรนิ่งนอนใจ เพราะการแข่งขันมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น ขณะที่คู่แข่งสำคัญอย่างเวียดนามก็กำลังไล่ตามและแย่งส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่ภาครัฐต้องให้ความสำคัญคือ การวางยุทธศาสตร์ข้าวไทยที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งต้องมุ่งเจาะตลาดข้าวพรีเมียม ชูแบรนด์ข้าวไทย และสร้างมูล ...
-
การเลือกตั้ง ส.ส. (ตอน 4) โหวตเพื่อธนาธิปไตยหรือไม่โหวตเพื่อประชาธิปไตย
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 17 มิถุนายน 2554 เวลา 14:59 น.เขียนโดยดร.เขียน ธีระวิทย์1.เราถูกบังคับโดยกฎหมายให้ไปทำหน้าที่เลือกตั้ง ส.ส. ให้เลือกผู้สมัคร/พรรคที่ดีที่สุด หรือคน/พรรคที่เลวน้อยที่สุด แต่ความจริงได้ปรากฏให้ประจักษ์แล้วว่าการเมืองไทยมีอาการวิปริตถึงขั้นวิกฤต ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งมากกว่าครึ่งหนึ่งจะไปใช้สิทธิเลือกรัฐบาล (ไม่ใช่เลือก ส.ส.) จำนวนมากในจำนวนนี้จะไปเลือกคน/พรรคเพื่อไทยเพราะไม่ชอบคนพรรคประชาธิปัตย์ ในทางตรงกันข้ามไปเลือกคน/พรรคประชาธิปัตย์ เพราะไม่ชอบ ...
-
โหวตโน.....แล้วได้อะไร? โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 17 มิถุนายน 2554 เวลา 11:07 น.เขียนโดยดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์การเลือกตั้งเป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ เพราะเป็นกลไกสำคัญสำหรับพลเมืองที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง และสามารถกำหนดได้ว่าใครจะเข้ามาทำหน้าที่ในการปกครองในระยะเวลาจำกัดซึ่งโดยปกติอยู่ในระยะเวลา 4 ปี หรือ 5 ปี หรืออาจกล่าวได้ว่า การเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยเป็นกระบวนการทางการเมืองที่สำคัญยิ่งในการถ่ายโอนอำนาจอธิปไตยขอประชาชนไปให้ตัวแทนทำหน้าที่ใช้แทนประชาชน