ไม่มีใครปฏิเสธอีกแล้วว่าสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา อยู่ในระดับวิกฤต และเสี่ยงเกิดสงครามหรือการสู้รบ
ในขณะที่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะคนเป็นผู้นำ ไม่สามารถสื่อสารและบริหารอารมณ์ของผู้คนในสังคมได้ในสถานการณ์วิกฤติไทย-กัมพูชา
กว่า 21 ปีที่รัฐไทยในเกือบทุกองคาพยพต้องเผชิญหน้ากับ BRN ในบริบทปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
การเปิดวงพูดคุยกับข้าราชการระดับสูงผู้รับผิดชอบปัญหาภาคใต้ของนายกฯแพทองธาร ชินวัตร 2 วันติดๆ กัน คือ 8 และ 9 พ.ค.68 นั้น
ในขณะที่ผู้รับผิดชอบในรัฐบาลกำลังเฟ้น “ตัวจริง” เพื่อนำขึ้นโต๊ะพูดคุยเจรจา หยุดปัญหาไฟใต้รอบใหม่ที่ยืดเยื้อมานาน 21 ปี
การไล่ล่าชีวิตชาวบ้าน คนธรรมดาที่ไม่มีอาวุธ ไม่มีศักยภาพในการป้องกันตัวเอง ซ้ำร้ายบางคนยังเป็น “กลุ่มอ่อนแอ - เปราะบาง” เช่น เด็ก ผู้หญิง คนท้อง คนชรา หรือแม้แต่คนพิการ โดยพุ่งเป้าไปที่คนนับถือศาสนาพุทธในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น
ปฏิบัติการไล่ล่า “เป้าหมายอ่อนแอ - เปราะบาง” ของกลุ่มก่อความไม่สงบชายแดนใต้ มีนัยต่อภาพสถานการณ์มากกว่าการสร้าง “อาณาจักรแห่งความกลัว”
คุณผู้อ่านเคยสงสัยหรือไม่ว่า ทำไมกลุ่ม BRN ซึ่งเป็นขบวนการติดอาวุธแบ่งแยกดินแดนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย จึงก่อเหตุรุนแรงได้ไม่หยุด และไม่สนใจผลกระทบที่จะตามมา โดยเฉพาะเรื่องของการ “สูญเสียมวลชน”
“เรากำลังจัดองคาพยพ เพราะรู้ปัญหาอยู่พอสมควร คิดว่าคงจะมีการพูดคุยกันในเรื่องความมั่นคงเพื่อให้เข้าใจตรงกัน และจะเดินหน้าทำเต็มที่ อย่างน้อยปีนี้ทุกอย่างต้องเบาบาง หรือนำไปสู่สันติภาพให้ได้”
สถานการณ์ชายแดนใต้ช่วงนี้ย้อนกลับไปเหมือนเมื่อปีแรกๆ ของความรุนแรงระลอกใหม่ที่ปะทุขึ้นหลังเหตุการณ์ปล้นปืนครั้งใหญ่ 4 มกราฯ 47